คุณกำลังมองหาอะไร?

กา

การประชุมเชิงปฏิบัติการบูรณาการระบบข้อมูลสารสนเทศกรมอนามัยและทบทวนตัวชี้วัดระบบเฝ้าระวังด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม วันที่ 23 - 25 ตุลาคม 2560 ณ โรงแรมทีเค พาเลซ แอนด์ คอนเวนชั่น แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร

กรมอนามัย พร้อมให้ข้อมูลข่าวสารที่มีประโยชน์สำหรับคุณ

19.10.2560
7
0
แชร์
19
ตุลาคม
2560

การประชุมเชิงปฏิบัติการบูรณาการระบบข้อมูลสารสนเทศกรมอนามัยและทบทวนตัวชี้วัดระบบเฝ้าระวังด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม วันที่ 23 - 25 ตุลาคม 2560 ณ โรงแรมทีเค พาเลซ แอนด์ คอนเวนชั่น แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร

เอกสารประกอบการประชุม
 
วันที่ 24 ตุลาคม 2560
 
แนวทางการกำหนดเครื่องชี้วัดในระบบเฝ้าระวังส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
      (นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล )
 
 การเฝ้าระวัง : เรดาร์ในระบบสาธารณสุข (นายแพทย์ คำนวณ อึ้งชูศักดิ์)
 
 มุมมองด้านระบาดวิทยาต่อระบบการเฝ้าระวังปัญหาด้านอนามัยสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
       (นายแพทย์ คำนวณ อึ้งชูศักดิ์)
 
ประมาณ พ.ศ.2561 (กลุ่มพัฒนาระบบข้อมูล กองแผนงาน)
 
2. สรุปตัวชี้วัดเฝ้าระวังการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
    ข้อมูล ณ วันที่ 18 มกราคม 2560
 
3. รายละเอียดตัวชี้วัดเฝ้าระวังการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมกรมอนามัย
    ข้อมูล ณ วันที่ 5 กันยายน 2560
 
4. รายละเอียดตัวชี้วัดฯ (กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย)
 
5. รายละเอียดตัวชี้วัดฯ (กลุ่มวัยเรียน)
 
6. รายละเอียดตัวชี้วัดฯ (กลุ่มวัยรุ่น)
 
7. รายละเอียดตัวชี้วัดฯ (กลุ่มวัยทำงาน)
 
8. รายละเอียดตัวชี้วัดฯ (กลุ่มวัยผู้สูงอายุ)
 
 
 
11. ตัวอย่าง Template รายละเอียดตัวชี้วัดระบบเฝ้าระวังฯ
 
 
    เจ้าภาพตัวชี้วัดเฝ้าระวังฯ ปรับรายละเอียด (Template)
 
- ตัวชี้วัดลำดับที่ 1 อัตราส่วนการตายมารดาไทยต่อการเกิดมีชีพแสนคน

- ตัวชี้วัดลำดับที่ 3 ร้อยละทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ำกว่า 6 เดือนกินนมแม่อย่างเดียว

- ตัวชี้วัดลำดับที่ 6 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน ธาตุเหล็ก และกรดโฟลิก
 
- ตัวชี้วัดลำดับที่ 7 ร้อยละของเด็กอายุ 6 เดือน ? 5 ปี ได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก

- ตัวชี้วัดลำดับที่ 19 ร้อยละของเด็กอายุ 6 - 14 ปี ได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก

- ตัวชี้วัดลำดับที่ 21 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 10-14 ปี

- ตัวชี้วัดลำดับที่ 23 ร้อยละการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี
 
- กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพขอพิจารณาเพิ่ม
  1.ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (PM10)
  2.อัตราการเจ็บป่วยด้วยกลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจลดลง ร้อยละ 10
 
 
   ประชากรไทยอายุตั้งแต่ 6 ปี ขึ้นไป มีกิจกรรมทางกายเพียงพอต่อสุขภาพ
 
 
 
 
 
วันที่ 25 ตุลาคม 2560
 
 
แนวทางและกรอบการพัฒนาข้อมูลในระบบ DOH Dashboard
  (นายแพทย์ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล)
 
 
  (กลุ่มพัฒนาระบบข้อมูล กองแผนงาน)
 
 
 
 
    การบูรณาการข้อมูล (ที่หน่วยงานเสนอมาเบื้องต้น)
 
 
 
 
สำนักส่งเสริมสุขภาพ
 
 
 
 
 
 
 
- ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์ ≤ 12 สัปดาห์
- ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์คุณภาพครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์
- ร้อยละของหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์
 
 
 
สำนักโภชนาการ
 
 
- ภาวะโภชนาการของเด็กอายุ 3 ? 5 ปี
 
 
 
สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์
 
เอกสารประกอบการประชุม วันที่ 24 ตุลาคม 2560 แนวทางการกำหนดเครื่องชี้วัดในระบบเฝ้าระวังส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล ) การเฝ้าระวัง : เรดาร์ในระบบสาธารณสุข (นายแพทย์ คำนวณ อึ้งชูศักดิ์) มุมมองด้านระบาดวิทยาต่อระบบการเฝ้าระวังปัญหาด้านอนามัยสุขภาพและสิ่งแวดล้อม (นายแพทย์ คำนวณ อึ้งชูศักดิ์) แนวทางการจัดทำข้อเสนอ ตัวชี้วัดเฝ้าระวังด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ.ศ.2561 (กลุ่มพัฒนาระบบข้อมูล กองแผนงาน) 1. หนังสือเชิญประชุม 2. สรุปตัวชี้วัดเฝ้าระวังการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ข้อมูล ณ วันที่ 18 มกราคม 2560 3. รายละเอียดตัวชี้วัดเฝ้าระวังการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมกรมอนามัย ข้อมูล ณ วันที่ 5 กันยายน 2560 4. รายละเอียดตัวชี้วัดฯ (กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย) 5. รายละเอียดตัวชี้วัดฯ (กลุ่มวัยเรียน) 6. รายละเอียดตัวชี้วัดฯ (กลุ่มวัยรุ่น) 7. รายละเอียดตัวชี้วัดฯ (กลุ่มวัยทำงาน) 8. รายละเอียดตัวชี้วัดฯ (กลุ่มวัยผู้สูงอายุ) 9. รายละเอียดตัวชี้วัดฯ (สิ่งแวดล้อม) 10. เล่มรายละเอียดตัวชี้วัดเฝ้าระวังการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมกรมอนามัย 11. ตัวอย่าง Template รายละเอียดตัวชี้วัดระบบเฝ้าระวังฯ เจ้าภาพตัวชี้วัดเฝ้าระวังฯ ปรับรายละเอียด (Template) - ตัวชี้วัดลำดับที่ 1 อัตราส่วนการตายมารดาไทยต่อการเกิดมีชีพแสนคน - ตัวชี้วัดลำดับที่ 3 ร้อยละทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ำกว่า 6 เดือนกินนมแม่อย่างเดียว - ตัวชี้วัดลำดับที่ 6 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน ธาตุเหล็ก และกรดโฟลิก - ตัวชี้วัดลำดับที่ 7 ร้อยละของเด็กอายุ 6 เดือน 5 ปี ได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก - ตัวชี้วัดลำดับที่ 19 ร้อยละของเด็กอายุ 6 - 14 ปี ได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก - ตัวชี้วัดลำดับที่ 21 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 10-14 ปี - ตัวชี้วัดลำดับที่ 23 ร้อยละการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี - ตัวชี้วัดลำดับที่ 24 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี - กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพขอพิจารณาเพิ่ม 1.ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (PM10) 2.อัตราการเจ็บป่วยด้วยกลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจลดลง ร้อยละ 10 - กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพขอพิจารณาเพิ่ม ประชากรไทยอายุตั้งแต่ 6 ปี ขึ้นไป มีกิจกรรมทางกายเพียงพอต่อสุขภาพ วันที่ 25 ตุลาคม 2560 แนวทางและกรอบการพัฒนาข้อมูลในระบบ DOH Dashboard (นายแพทย์ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล) แนวทางการจัดทำข้อเสนอรายการข้อมูลในระบบ DOH Dashboard (กลุ่มพัฒนาระบบข้อมูล กองแผนงาน) การบูรณาการข้อมูล (ที่หน่วยงานเสนอมาเบื้องต้น) สำนักส่งเสริมสุขภาพ - ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์ d 12 สัปดาห์ - ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์คุณภาพครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ - ร้อยละของหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ สำนักโภชนาการ - ภาวะโภชนาการของเด็กอายุ 0 2 ปี - ภาวะโภชนาการของเด็กอายุ 3 5 ปี สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ - ร้อยละของหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ที่ได้รับบริการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ (Modern methods) หลังคลอดหรือหลังแท้ง - ร้อยละของหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี หลังคลอดหรือหลังแท้งที่คุมกำเนิดได้รับการคุมกำเนิดด้วยวิธีกึ่งถาวร (ยาฝังคุมกำเนิด/ห่วงอนามัย)

กรมอนามัย
เรามีสาระสุขภาพดีๆ
ส่งตรงถึงคุณ
ทุกวัน